ประวัติย่อ

ชื่อ – นามสกุล     (ภาษาไทย) นาย / นาง / นางสาว..............ศลิษา วีรพันธุ์.....................
                       (ภาษาอังกฤษ) Mr. / Miss / Mrs. …………… DR. SALISA VEERAPUN…………
ตำแหน่งปัจจุบัน   .............อาจารย์.............................
สถานที่ติดต่อ      
                              ที่ทำงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
                             เลขที่ 99 หมู่ 9 ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์
                             อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
                              โทรศัพท์ ...................................   โทรสาร  ... 0-5596-4000 ...
                              โทรศัพท์เคลื่อนที่  ..................   E – mail  salisav@nu.ac.th

ประวัติการศึกษา

ปีการศึกษา ระดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถานที่
2544 - 2550 ปริญญาเอก Ph.D. Mechanical Engineering University of Manchester
2542 - 2543 ปริญญาโท M.S. Mechanical Eng.Design UMIST (University of Manchester Institute of Science and Technology)
2537 - 2541 ปริญญาตรี วศ.บ. Mechanical Engineering จุฬากรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำงาน

วัน/เดือน/ปี

ตำแหน่ง

สถานที่ทำงาน

10 กันยายน 2550 - ปัจจุบัน

อาจารย์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ 
Product development/Design process/systematic creativity
small hydropower /3D-printing technology


ประสบการณ์การทำวิจัย (ในตำแหน่งหัวหน้าโครงการ)

งบประมาณรายได้
ช่วงปี ชื่อโครงการ แหล่งทุน งบประมาณ
0 - 2568 - มหาวิทยาลัยนเรศวร 179,600  
งบประมาณภายนอก
ช่วงปี ชื่อโครงการ แหล่งทุน งบประมาณ
2559 - 2559 การพัฒนากังหันน้ำเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดเล็กที่เหมาะกับสภาพภูมิประเทศและเทคโนโลยีในประเทศไทย ปีที่ 2 (การศีกษาการไหลของน้ำก่อนเข้ากังหันน้ำด้วยวิธี Moving-particle Semi-implicit,MPS, และการนำเสนอการสร้างกังหันน้ำแบบระบบปิดให้กับชุมชน (off-grid) New Energy Foundation 570,000  

ประสบการณ์การทำวิจัย (ในตำแหน่งผู้ร่วมวิจัย)

งบประมาณรายได้
ช่วงปี ชื่อโครงการ แหล่งทุน งบประมาณ
2562 - 2562 ผลของกระบวนการเตรียมเส้นใยและการผลิตต่อสมบัติของพอลิเมอร์คอมโพสิตจากเส้นใยธรรมชาติสำหรับอุปกรณ์เลี้ยงสัตว์ทดลอง มหาวิทยาลัยนเรศวร 100,000
2555 - 2556 (ชุดโครงการ) การพัฒนาต้นแบบระบบขนส่งมวลชนมหาวิทยาลัยนเรศวร ระยะที่ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร 4,997,560
งบประมาณแผ่นดิน
ช่วงปี ชื่อโครงการ แหล่งทุน งบประมาณ
2560 - 2560 โครงการพัฒนาสิ่งเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมของสัตว์ทดลองประเภทหนูไมซ์ และหนูแรทจากวัสดุผสมธรรมชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร 299,000
2560 - 2560 โครงการบริการออกแบบ ผลิต และทดสอบ วัสดุรองนอนและสิ่งเพิ่มดูนสภาพแวดล้อมของสัตว์ฟันแทะขนาดเล็กด้วยเส้นใยธรรมชาติจากกาบกล้วย Innovation Hub-Creative Economyมหาวิทยาลัยนเรศวร 500,000
งบประมาณภายนอก
ช่วงปี ชื่อโครงการ แหล่งทุน งบประมาณ
2562 - 2562 การเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งจากการแปรรูปสับประรดด้วยนวัตกรรม ภายใต้โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยภาคเหนือ : การพัฒนาสับประรดแบบครบวงจรด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 350,000
2560 - 2561 โครงการบริการออกแบบผลิตและทดสอบวัสดุรองนอนและสิ่งเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมของสัตว์ฟันแทะขนาดเล็กด้วยเส้นใยธรรมชาติจากกาบกล้วย Innovation Hub-Creative Economy 500,000
2559 - 2559 การเปลี่ยนแปลงประชากรและความอยู่ดีมีสุขในบริบทสังคมสูงวัย วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1,832,000
2557 - 2557 การพัฒนาเครื่องโรยเมล็ดข้าวงอกแบบแถว กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 180,000

ผลงานวิจัยเผยแพร่

- ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

1. Katayama, Y., Iio S., Kimoto,K., Veerapun, S . 2016. Open-Type Cross-Flow Turbine with Curved Channel (Effect of Channel angle on Water Surface Stability). International Review of Aerospace Engineering. 7 6 187-191
2. Katayama, Y., Iio S., Veerapun, S. Uchiyama, T., Ikeda, T.. 2015. Investigation of Blade Angle of an Open Cross-flow Runner. International Journal of TURBO and JET-ENGINES.. 32 1 65–72
3. Katayama, Y., Iio S., Veerapun, S.. 2014. Effect of Runner Position on Performance for Open Type Cross-flow Turbine utilizing Waterfalls. International Review of Mechanical Engineering. 8 6 1012-1016

- ผลงานวิจัยเผยแพร่ ประเภทนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ

1) Rangsanseri, Y. and Dachasilaruk, S., (1999) Comparative Study of Post-processing Techniques for Reducing Blockiness in Transform Coded Images. IEEE International Symposium on Consumer Electronic (ISCE’99). Malaysia

- ผลงานวิจัยเผยแพร่ ประเภทนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ ระดับชาติ

1) มัทนี สงวนเสริมศรี รัตนา การุญบุญญานันท์ ศลิษา วีรพันธุ์ เกดิษฐ์ กว้างตระกูล (2022) การพัฒนาเครื่องโรยเมล็ดข้าวงอกแบบแถว. การประชุมติดตามงานและรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือ ประจำปี 2565. ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

- ผลงานวิจัยเผยแพร่ ประเภททรัพย์สินทางปัญญา

ที่ ชื่อโครงการ สถานะ ประเภท หมายเหตุ
1 แม่พิมพ์สำหรับขึ้นรูปสิ่งเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมสำหรับสัตว์ทดลองจากเส้นใยธรรมชาติ กำลังดำเนินการ อนุสิทธิบัตร ดำเนินการยื่นคำร้องขอจดอนุสิทธิบัติใหม่ เนื่องจากมีการเพิ่มเติมข้อมูล   
2 สิ่งเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมสัตว์ทดลองจากเส้นใยธรรมชาติแบบพับได้ กำลังดำเนินการ อนุสิทธิบัตร   
3 อุปกรณ์รองนอนสำหรับสัตว์ ได้รับการคุ้มครอง
เลขสิทธิบัตร85173
ถึงวันที่2029-02-21
สิทธิบัตร   
4 แม่พิมพ์ ได้รับการคุ้มครอง
เลขสิทธิบัตร88034
ถึงวันที่2030-08-20
สิทธิบัตร   
5 แม่พิมพ์ ได้รับการคุ้มครอง
เลขสิทธิบัตร88035
ถึงวันที่2030-08-20
สิทธิบัตร   
blank

- ผลงานบริการวิชาการ

ที่ ชื่อโครงการ หัวหน้าโครงการ ช่วงเวลา งบประมาณ แหล่งทุน
1 โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ [ต.อรัญญิก อ.เมือง จ.พิษณุโลก] ศลิษา วีรพันธุ์ 1 ก.พ. 2564 ถึง 
30 ธ.ค. 2564
3,263,000.00
2 โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ [ต.วัดพริก อ.เมือง จ.พิษณุโลก] ศลิษา วีรพันธุ์ 1 ก.พ. 2564 ถึง 
30 ธ.ค. 2564
3,263,000.00
รวม       6,526,000.00  




 .................................................................................

 ( ดร.ศลิษา วีรพันธุ์ )

 26 เมษายน 2567